วันพฤหัสบดีที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2556

พระพิมพ์สมเด็จองค์น้ำหมาก 2406 - 2408 ปลายรัชกาลที่ 3 ต่อ รัชกาลที่ 4





พระพิมพ์รุ่นนี้ตามประวัติที่ทราบ น่าจะพิมพ์ขึ้นปลายรัชกาลที่ 3 ต่อ รัชกาลที่ 4 เพราะสมเด็จโต ฯ ท่านเริ่มพิมพ์พระของท่านตั้งแต่ ท่านเริ่มบวชเป็นพระแล้ว โดยทำการพิมพ์แจกเรื่อยไปเวลาท่านออกบิณฑบาตร แต่พระรุ่นนั้นองค์พิมพ์ไม่สวยงามเพราะเป็นบล็อคชาวบ้านที่แกะมาถวายท่าน จวบจนท่านได้รับการแต่งตั้งเป็นพระธรรมกิตติแล้วและได้เข้าไปอยู่ในวังจึงมีโอกาศพบพวกช่างสิบหมู่ของวังหน้าและวังหลวงจนเกิดมีการแกะพิมพ์ถวายท่านให้ท่านพิมพ์พระ พระพิมพ์รุ่นนี้ทราบว่าเป็นพิมพ์รุ่นนองค์น้ำหมากที่เป็นพิมพ์นิยมอยู่ในเวลานี้ แสดงว่าผู้กดพิมพืพระใช้บล๊อคพิมพ์อันเดียวกัน แต่เนื่อพิมพ์ต่างกันบ้างนิดหน่อยแต่ส่ววนมากในเนื่อองค์พระทุกองค์ที่ผ่านองค์สมเด็จโตท่านนั้น จะมีเนื้อมวลสารพวก เกษรกล้วย ก้านธูป ผงอิทธิเจ ต่าง ๆ ซึ่งเป็นของสมเด็จท่านปนอยู่เสมอด้วยทุกองค์ที่ผ่านการปลุกเสกจากท่าน พระพิมพ์รุ่นนี้สันนิษฐานว่าเป็นพระพิมพ์ที่กดพิมพ์ขึ้นราว พ.ศ.2406 - 2408 ในพระราชพิธีที่สำคัญต่าง ๆ ท่ีทำขึ้นในพระราชวังทั้งสิ้น เสร็จสิ้นแล้วแจกข้าราชการในวัง ขุนนางต่าง ๆ ท่ีเหลือนำเก็บขึ้นใส่กรุหรือวางบนเพดานโบสถ์วัดพระแก้ว และบรรจุลงเจดีย์ทองที่วัดพระแก้ววังหน้า และวัดพระแก้ววังหลัง ตลอดจนบรรจุกรุที่วัดเกศไชโย ด้วยบางส่วนตามท่ีพบ ส่วนบล๊อคที่พิมพ์เสร็จแล้วก็เก็บรักษาไว้จนนำมาพิมพ์พระในช่วงหลังก็ใช้บล็อคอันเดิมนี้กดพิมพ์พระ ทำให้พระพิมพ์ที่ออกมาเหมือนกัน แต่เนท้อองค์พระแตกต่างกันบ้างตามมวลสารที่พิมพ์คือองค์น้ำหมากนั่นเอง เสร็จแล้วก็ให้องค์สมเด็จโต ท่านเป็นผู้ปลุกเสกนั่นเอง ลองชมความสวยงามขององค์พระพิมพ์นี้ได้เลยครับผม เจ้าของพระพิมพ์นี้เป็นคนเก่าอายุ กว่า 90 ปีแล้วขณะนี้ บอกมาว่าผู้ใดสนใจพระพิมพ์นี้ โทรมาที่ 084 - 3995656 สิครับ ท่านอาจจะมีโชคดีนะครับผม

วันอังคารที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2556

พระสมเด็จที่หลวงปู้โตปลุกเสก พ.ศ.2408 - 2409 ปลาบรัชกาลที่ 3 ต่อ รัชกาลที่ 4 - 5




พระพิมพ์รุ่นนี้เรียกว่ารุ่นหน้าโหนกอกครุฑเนื้อออกแดงเหมือนเนื้อโกเด ผมถามผู้รู้อาจารย์ผมว่ามวลสาร
พระรุ่นนี้มีมาอย่างไรท่านก็อธิบายให้ฟังว่า คนสมัยก่อนมีคำพูดว่า " ขมิ้นกับปูน " นะ ผมถึงเข้าใจว่ามันเป็นอย่างนี่เอง ขมิ้นเมื่อผสมกับปูนแล้วสีมันออกแดงนะครับ ทำให้พระรุ่นนี้สีจึงออกมายังงั้นนะครับ มวลสารส่วนมากก็ของสมเด็จโต ฯ นะครับ เพราะพระรุ่นนี้กดพิมพ์กันที่วังหน้า สมัยเจ้ากรมวังหน้า กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญสถานมงคลเจ้ากรมวังหน้าองค์สุดท้ายของรัชกาลที่ 5 นะครับ โดยสมัยนั้นทำพระกันมากมีมากพิมพ์ มีทั้งพิมพ์ใหม่ ๆ ที่ช่างวังหรือช่างสิบหมู่แกะถวายหลวงปู่ท่านนะครับ จะเห็นว่ารูปแบบดีกว่าพิมพ์ที่ชาวบ้านแกะมากคือไม่โย้เย้ และบล๊อคแกะแบบแยกออกได้ ทำให้พระคมชัดข้างองค์พระเนื้อพระไม่ล้นปลิ้นออกมาด้านข้าง พ.ศ. 2408 นั้นพิมพ์พระออกมาเพื่อแจกให้ข้าราชการในวังหน้า วังหลังและวังหลวง ใช้โดยเฉพาะ แต่ไม่ปรากฏว่าแจกประชาชน แต่อย่างใด เมื่อแจกพอสมควรแล้วก็เก็บลงบรรจุในหีบหนังบ้าง ลังไม้บ้าง หีบเหล็กบ้าง เก็บวางไว้ที่เพดานโบสถ์วัดพระแก้ววังหน้าและวัดพระแก้ววังหลัง (วัดพระศรีรัตนศาสดาราม) และยังบรรจุบางส่วนลงในกรุเจดีย์ทองหน้าพระอุโบสถด้วย และทราบว่าเมื่อฉลองกรุงเทพ 100 ปีนั้น (2325) พระรุ่นนี้ก็แตกกรุออกมาโดยช่างที่มาซ่อมอาคารโบสถ์วัดพระแก้วนั่นเอง แต่ก็ออกมาไม่มากนัก ต่อมาจน พ.ศ.2408 - 2411 รัชกาลที่  4 เสด็จสวรรคต รัชกาลที่ 5 พระจุลจอลเกล้าเจ้าอยู่หัวขึ้นครองราชย์ข้าราชบริพานและเจ้ากรมท่าวังหน้ากรมหมื่นวิไชยชาญสถานมงคลเจ้ากรมวังหน้าในสมัยนั้นจึงทูลขอพระราชทานจัดพิมพ์พระขึ้นเพื่อเฉลิมฉลองที่รัชกาลที่5 ขึ้นครองราชย์ โดยใช้แม่พิมพ์เก่าของสมเด็จโต ฯ และแกะแม่พิมพ์ใหม่ออกมาอีกบางส่วน เพื่อให้ทันการเฉลิมฉลองงานของรัชกาลที่ 5 พระที่พิมพ์ออกมาใรรุ่นนี้มีทั้งพิมพ์ พระประธาน พิมพ์เจดีย์ พิมพ์หูยานฐานแซม พิมพ์เกศบัวตูม พิมพ์ฐานคู่ พิมพ์สังฆาฏิ พิมพ์เส้นด้าย พิมพ์ล้อพระรุ่นดัง ๆ ในเวลานั้น เช่นพระพิมพ์ขุนแผน พิมพ์หลวงปู่ทวด พิมพ์ผงสุพรรณ และอื่น ๆ อีกหลายพิมพ์ และเมื่อพิมพ์พระไม่ทันครบ 84.000 องค์สมเด็จโต ฯ ท่านก็เอาพระสมเด็จวัดระฆังที่มีอยู่แล้วบบรจุใส่ลงไปในเจดีย์ทองด้วยเพื่อให้ครบตามจำนวนพระธรรมขันธ์ เมื่อแจกจ่ายหมดไปบางส่วนแล้วจึงนำเก็บไว้บนเพดานโบสถ์วัดพระแก้ววังหน้า วัดพระแก้ววังหลวง เจดีย์รอบพระอุโบสถ์บ้าง จนมา พ.ศ..2524 - 2525 มีการเฉลิมฉลอง กรุงเทพ ครบ 200 ปี จึงมีการบรูณะวัดพระแก้วขึ้นมาอีกรอบหนึ่ง นี่แหละครับพระอันสุดยอดของสยามประเทศจึงแตกกรุออกมาอีกครั้งหนึ่ง แต่จะแตกอย่างไร ใครเก็บเอาไว้บ้าง อย่าไปสอบถามติดตามเลยครับ แต่จะบอกให้ว่าบุคคลคนนั้น ขณะนี้อายุปาเข้าไป 90 กว่าแล้วครับและยังมีชีวิตอยู่ ซึ่งผมเผอิญได้รู้จักกับท่านเลยมีโอกาศได้พระรุ่นสุดยอดในสยามมาลงให้ทันดูนะครับ เรื่องมันยาวนะครับประวัติพระรุ่นนี้ เอาเป็นว่าท่านผู้ใดที่สนใจพระอันเป็นสุดยอดในสยามประเทศรุ่นนี้ที่อธิฐานจิตโดยสมเด็จโต พรหมรังสี แล้วละก็ โทรมาสิครับ พระรุ่นนี้มีพลังอิทธิคุณมากกว่าพระสมเด็จวัดระฆังถึง 5 เท่านะครับ (ผู้ที่ตรวจสอบพลังของพระเขาทราบและบอกให้นะครับ) ลองดูรูปนะครับ 084-3995656

วันเสาร์ที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2556

พระพิมพ์สมเด็จที่หลวงปู่โตปลุกเสกอธิฐานจิตให้ พ.ศ.2408



พระพิมพ์รุ่นนี้เนื้อปูนผสมขมิ้นจึงออกสีแดงเข้มเหมือนคำว่าขมิ้นกับปูนนะครับ ผมถามอาจรย์ผู้รู้ทราบว่า พระรุ่นนี้ทำขึ้นประมาณปี พ.ศ.2408 ในรัชกาลที่ 3 ต่อปลายรัชกาลที่ 4 สมัยหลวงปู่โตอยู่แต่ยังไม่ได้เป็นเจ้าอาวาสวัดระฆัง ตอนนั้นท่านธุดงค์ออกไปต่างจังหวัดบ่อย ๆ เพราะท่านไม่ยอมรับตำ่แหน่งที่รัชกาลที่ 4 จะแต่งตั้งให้ จนถึงอกกประกาศว่าใครพบขรัวโตที่ไหนให้จับมาส่งที่วังหลวงด้วย จนในที่สุดท่านก็กลับมาเอง ทางวังจึงมีพระบรมราชโองการแต่งตั้งพัดยศตำแหน่งท่านให้เป็นพระธรรมกิตติตั้งแต่นั้น ช่วงในสมัยนั้นมีการพิมพ์พระออกมาเป็นรุ่น ๆ เพราะมีชาวบ้านบ้าง ช่างของวังบ้างแกะพิมพ์พระมาถวายท่านให้ท่านกดพิมพ์พระเมื่อท่านว่างท่านก็ให้พระเณรช่วยกดพิมพืพระให้ด้วยเสร็จแล้วก็ตากอยู่หน้ากุฏิของท่านที่วัดระฆังนั่นละใครผ่านไปผ่านมาก็หยิบติดมือออกไปบ้างท่านก็ไม่ว่าอะไรเพราะตอนนั้นพระสมเด็จไม่
มีราคาค่างวดอะไร บางทีคนในสมัยนั้นยังไม่รู้จักด้วย เมื่อกดพิมพ์พระเสร็จตากแห้งดีแล้วท่านก็นำเข้าไปในกุฏิของท่านทำการปลุกเสกของท่านไปองค์เดียว เสร็จแล้วท่านก็เก็บใส่ไหใส่โองของท่านไว้ เวลาออกไปบิณฑบาตท่านก็นำพระที่พิมพ์ปลุกเสกเสร็จแล้วนี้ตืดตัวไปแจกชาวบ้านที่มาใส่บาตรให้ท่านแล้วพูดว่า " เก็บไว้ให้ดีนะอีกหน่อยจะมีราคา " นั่นก็เป็นเวลาเนินนานมาแล้ว บางคนก็รับไว้เพราะไม่มีราคาคุณค่าแต่อย่างไร สูญหายไปก็มากเพราะคนส่วนมากยังไม่รู้จักพระสมเด็จกันนะครับ พระรุ่นท่ีผมนำรูปมาให้ท่านดูนี้ ทราบจากอาจารย์ว่า พิมพ์พระจะดูไม่สวยงาม เพราะยังเป็นบล๊อคของชาวบ้านและของช่างวังหลวงที่แกะบล๊อคมาถวายให้ท่านพิมพ์พระ พระจึงออกโยเย้บ้าง ขอบไม่เท่ากันบ้าง สีไม่เท่ากันไม่เสมอกันบ้าง น้ำมันตั้งอิ๋วยังไม่ใช้ใน พ.ศ.นั้น พระรุ่นนี้จึงไม่มีน้ำมันตั้งอิ้วครับ พระพิมพ์รุ่นที่ผมลงนี้ได้รับมาจากอาจารย์ผม 10 กว่าองค์ ข้างหลังมีตราองค์ครุฑ รัชกาลที่ 3 ท่านมีชื่อเล่นว่าหลิน หรือฉินนี่แหละครับ แปลว่านกใหญ่ หรือครุฑ นี่ละครับ จึงมีตราประจำพระองค์เป็นรูปครุฑแทนตัวพระมหากษัตรย์เหมือนตราประจำพระองค์หรืออักษรย่อในรัชกาลที่ 5 ว่า "จปร " นั่นเอง พระพิมพ์รุ่นนี้มีตราองค์ครุฑอยู่ด้านหลัง อาจารย์บอกว่าบล๊อคนี้ช่างสิบหมู่ในวังแกะบล๊อคมาถวายท่าน ให้ท่านพิมพ์พระพิมพ์ของวังโดยกดรุปครุฑไว้ด้านหลังด้วยเพื่อแสดงว่าเป็นพระที่ทำจากวังหลวง เสร็จแล้วให้ท่านขรัวโตทำการปลุกเสกแจกข้าราชบริพานในวังใข้ทั่วกัน ไม่ปรากฎว่าแจกชาวบ้าน และที่พบพระรุ่นนี้ที่เพดานโบสถ์วัดพระแก้วในโอกาศฉลองกรุงเทพครบ 200 ปี พ.ศ.2525 และในกรุเจดีย์ทองวัดพระแก้วจะเห็นคราบกรุจับเป็นส่วน ๆ จนมององค์ครุฑไม่ชัดเจน และอีกส่วนหนึ่งบรรจุในลังไม้ และกระสอบ กระเป๋าหนัง หีบหนัง วางอยู่บนเพดานโบสถ์วัดพระแก้ว แตกกรุออกมาตอนบรูณะอุโบสถวัดพระแก้ว ผมได้รับพระรุ่นนี้มา 10 องค์ จากอาจารย์เพื่อให้ผู้ที่สนใจเช่าบูชาเพื่อเป็นสิริมงคลแก่ตัวเองและครอบครัวครับ ใครสนใจโทรมาสิครับ 084-3995656 ครับ

สมเด็จวัดระฆังบล๊อคหลวงวิจารย์ 2411 เนื่อปูนกังใส ปูนเปลือกหอย





พระพิมพ์สมเด็จวัดระฆังรุ่นนี้ใช้บล๊อคหลวงวิจารย์เป็นแม่พิมพ์ จะเห็นความคมชัดของขอบไม่มีเนื่อพระล้นออกมาเลย เพราะเป็นกรอบที่แกะจากหินลับมีดหรือบลีอคคงที่ที่ถอดประกอบออกเป็นบล๊อคเดียวได้โดยไม่โย้เย้ทำให้องค์พระคมชัดเจนมองดูสวยงาม เส้นกรอบหวายและครอบแก้วสวยงามมองเด่นชัด คราบกรุจับแน่นหนาตามสภาพพระที่บรรจุกรุที่เจดีย์ทองวัดพระแก้ว เพราะตอนเฉลิมฉลองรัชกาลที่ 5 ขึ้นครองราชย์ เมื่อ พ.ศ.2411 นั้น วังหน้าทำพระพิมพ์ออกมาหลายพิมพ์ แต่ก็ยังไม่พอเพียงที่จะบรรจุกรุให้ครบพระธรรมขันธ์ 84000 องค์ เมื่อมีการฉลองกรุงเทพ 200 ปี มีการบรูณะซ่อมแซมวัดพระแก้วและบริเวณรอบวัดพระแก้วให้สวยงาม เมื่อ พ.ศ. 2535  นั้น ช่างสิบหมู่ที่บรูณะวัดพระแก้วพบกรุในเจดีย์ทองวัดพระแก้ว พบพระสมเด็จอยู่ในกรุเป็นจำนวนมากจึงนำออกมาเร่ขายที่ตลาดพระท่าพระจันทร์แต่ภายหลังถูกตามเก็บคืนเอากลับไปบรรจุกรุตามเดิมอีก ที่เล็ดลอดไปอีกจำนวนไม่น้อย และระหว่างที่บรูณะวัดนั้น พระพิมพ์เหล่านี้ก็ถูกนำออกไปเก็บยังที่ข้างนอกที่จัดไว้ เมื่อบรูณะวัดแล้วเสร็จจึงนำกลับเข้ามาบรรจุในวัดเช่นเิดิม แต่ครั้งนี้นะครับ เอาออกไปเท่าไหร่ แต่เอากลับคืนมาบรรจุกรุไม่ครบตามที่ออกไปนะครับ และที่ทราบจากผู้รู้มาว่าพระที่อยู่ในกรุเจดีย์ทองนั้นนะที่นำออกไปเป็นพระสมเด็จวัดระฆังส่วนมากด้วยผู้รู้สันนิษฐานว่า พระที่พิมพ์จากวังหน้านั้นคงไม่พอพระธรรมขันธ์ 84,000 องค์ สมเด็จโต ฯ ท่านเลยนำพระสมเด็จของท่านที่มีอยู่แล้วใส่ลงไปในกรุเจดีย์ทองด้วย ทำให้พระสมเด็จวัดระฆังของท่านแตกกรุออกไปในคราวนั้นด้วยครับ ดูอย่างองค์ที่ผมนำลงให้ดูนี้สิครับ สวยงามมากจริง ๆ เพราะเป็นพิมพ์ของหลวงวิจารย์ ซึ่งเป็นช่างสิบหมู่ในวังนะครับที่แกะบล๊อคถวามสมเด็จท่านนนะครับ ลองทัศนาดูเอาเองสิครับผม